วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง กรอบความรู้ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งสรุปความรู้ดังนี้
วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึการเรียนการสอนครั้งที่ 6 วันที่ 7 ธันวามคม 2555
การจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานขอบข่ายของ
หลักสูตรคณิตศาสตร์
1. การนับ ครูหยิบดอกไม้ขึ้นมาครั้งละ 1 ดอก ให้เด็กๆนับ 1-10
2. ตัวเลข ครูหยิบดอกไม้จำนวนกี่ดอกก็ได้ แล้วถามเด็กๆว่า ดอกไม้ในมือคุณครูมีกี่ดอก
3. การจับคู่ ครูเตรียมดอกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกล้วยไม้ ดอกลิลลี่ อย่างละ 2 ดอก ใส่ไว้ในตะกร้า แล้วให้เด็กๆจับคู่ดอกไม้ที่มีลักษณะรูปร่างเหมือนกันไว้ด้วยกัน
4. การจัดประเภท คุณครูให้เด็กแยกดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และลักษณะที่เป็นช่อให้
ใส่แยกลงในตะกร้า
5. การเปรียบเทียบ คุณครูมีดอกกุหลาบ 5 ดอก ดอกดาวเรือง 3 ดอก คุณครูให้เด็กๆเปรียบเทียบว่า ดอกอะไรมีจำนวณมากกว่ากัน โดยให้เด็กๆจับคู่ดอกกุหลาบ : ดอกมะลิ ในสัดส่วน 1:1 เมื่อดอกไม้ชนิดใดเหลือแสดงว่าดอกไม้ชนิดนั้นมีจำนวนมากกว่า
6. การจัดลำดับ คุณครูเตรียมดอกไม้ 3 มัด ดังนี้
มัดที่ 1 ดอกกุหลาบ 1 ดอก
มัดที่ 2 ดอกมะลิ 5 ดอก
มัดที่ 3 ดอกดาวเรือง 3 ดอก
ให้เด็กๆเรียงลำดับจำนวนน้อยไปหาดอกไม้ที่มีจำนวนมาก
7. รูปทรงและเนื้อที่ คุณครูสอนเด็กๆทำขนมชั้น จึงคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในกระบอกตวง จากนั้นให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญว่ามีปริมาตรเท่าไร
8. การวัด คุณครูมีกุหลาบจำนวน 3 ดอก แต่ละดอกมีก้านที่ยาวไม่เท่ากัน คุณครูให้เด็กๆใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของก้านดอกกุหลาบ และหาว่าก้านกุหลาบก้านใดยาวที่สุด
9. เซต คุณครูมีดอกไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ดอกดาวเรือง ดอกบานบุรี และดอกทานตะวัน ซึ่งดอกไม้ทั้ง 3 ชนิดนี้มีสีเหลืองเหมือนกัน และใส่รวมไว้ในตะกร้าเดียวกัน คุณครูให้เด็กๆแยกดอกไม้แต่ละชนิดออกจากกัน โดยเด็กๆจะต้องเลือกหยิบดอกไม้ที่เป็นชนิดเดียวกันมาไว้ด้วยกัน
10. เศษส่วน ดอกดาวเรือง 1 ช่อ มี 4 ดอก ให้เด็กๆแบ่งดอกไม้ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน แล้วคุณครูหยิบออกมาให้เด็กๆ 1 ส่วน แสดงว่าคุณครูหยิบดอกไม้ออกมา 1 ใน 2 ของดอกไม้ทั้งหมด
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย คุณครูวาดดอกกล้วยไม้ให้เด็กๆดู ดอกกล้วยไม้ 1 ดอกจะมีจำนวน 5 กลีบ เด็กๆจะต้องวาดตามคุณครู และเด็กๆสามารถระบายสีตามใจชอบ
12. การอนุรักษ์ คุณครูคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในแก้ว 2 ใบ ซึ่งแต่ละใบมีปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญเท่ากัน จากนั้นคุณครูเทน้ำดอกอัญชัญแก้วที่ 2 ใส่ลงในแก้วใบที่ 3 ซึ่งมีรูปทรงสูง และขนาดแคบกว่า คุณครูให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำในแก้วทั้งสอง แล้วถามว่าปริมาตรน้ำในแก้วใบที่ 3 แตกต่างจากน้ำในแก้วใบที่ 1 หรือไม่ เด็กๆจะสังเกตจากระดับน้ำตามที่ตาเห็น
-อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนนำกล่องมาคนละ 1 กล่อง สอนในเรื่องของการใช้สื่อกล่องในการสอนความรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก
-แบ่งกลุ่ม จำนสน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ใช้กล่องของแต่ละคน มาต่อรวมกันเป็นรูปอะไรก็ได้โดยมีข้อแม้ดังนี้
กลุ่มที่ 1 สามารถพูดคุยปรึกษากันได้
กลุ่มที่ 2 ห้ามพูดคุยกันกลุ่มที่ 3 สามารถพูดได้ทีละคน
หลักสูตรคณิตศาสตร์
หมวด ดอกไม้
1. การนับ ครูหยิบดอกไม้ขึ้นมาครั้งละ 1 ดอก ให้เด็กๆนับ 1-10
2. ตัวเลข ครูหยิบดอกไม้จำนวนกี่ดอกก็ได้ แล้วถามเด็กๆว่า ดอกไม้ในมือคุณครูมีกี่ดอก
3. การจับคู่ ครูเตรียมดอกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกกล้วยไม้ ดอกลิลลี่ อย่างละ 2 ดอก ใส่ไว้ในตะกร้า แล้วให้เด็กๆจับคู่ดอกไม้ที่มีลักษณะรูปร่างเหมือนกันไว้ด้วยกัน
4. การจัดประเภท คุณครูให้เด็กแยกดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และลักษณะที่เป็นช่อให้
ใส่แยกลงในตะกร้า
5. การเปรียบเทียบ คุณครูมีดอกกุหลาบ 5 ดอก ดอกดาวเรือง 3 ดอก คุณครูให้เด็กๆเปรียบเทียบว่า ดอกอะไรมีจำนวณมากกว่ากัน โดยให้เด็กๆจับคู่ดอกกุหลาบ : ดอกมะลิ ในสัดส่วน 1:1 เมื่อดอกไม้ชนิดใดเหลือแสดงว่าดอกไม้ชนิดนั้นมีจำนวนมากกว่า
6. การจัดลำดับ คุณครูเตรียมดอกไม้ 3 มัด ดังนี้
มัดที่ 1 ดอกกุหลาบ 1 ดอก
มัดที่ 2 ดอกมะลิ 5 ดอก
มัดที่ 3 ดอกดาวเรือง 3 ดอก
ให้เด็กๆเรียงลำดับจำนวนน้อยไปหาดอกไม้ที่มีจำนวนมาก
7. รูปทรงและเนื้อที่ คุณครูสอนเด็กๆทำขนมชั้น จึงคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในกระบอกตวง จากนั้นให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญว่ามีปริมาตรเท่าไร
8. การวัด คุณครูมีกุหลาบจำนวน 3 ดอก แต่ละดอกมีก้านที่ยาวไม่เท่ากัน คุณครูให้เด็กๆใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของก้านดอกกุหลาบ และหาว่าก้านกุหลาบก้านใดยาวที่สุด
9. เซต คุณครูมีดอกไม้ 3 ชนิด ได้แก่ ดอกดาวเรือง ดอกบานบุรี และดอกทานตะวัน ซึ่งดอกไม้ทั้ง 3 ชนิดนี้มีสีเหลืองเหมือนกัน และใส่รวมไว้ในตะกร้าเดียวกัน คุณครูให้เด็กๆแยกดอกไม้แต่ละชนิดออกจากกัน โดยเด็กๆจะต้องเลือกหยิบดอกไม้ที่เป็นชนิดเดียวกันมาไว้ด้วยกัน
10. เศษส่วน ดอกดาวเรือง 1 ช่อ มี 4 ดอก ให้เด็กๆแบ่งดอกไม้ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน แล้วคุณครูหยิบออกมาให้เด็กๆ 1 ส่วน แสดงว่าคุณครูหยิบดอกไม้ออกมา 1 ใน 2 ของดอกไม้ทั้งหมด
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย คุณครูวาดดอกกล้วยไม้ให้เด็กๆดู ดอกกล้วยไม้ 1 ดอกจะมีจำนวน 5 กลีบ เด็กๆจะต้องวาดตามคุณครู และเด็กๆสามารถระบายสีตามใจชอบ
12. การอนุรักษ์ คุณครูคั้นน้ำดอกอัญชัญใส่ในแก้ว 2 ใบ ซึ่งแต่ละใบมีปริมาตรของน้ำดอกอัญชัญเท่ากัน จากนั้นคุณครูเทน้ำดอกอัญชัญแก้วที่ 2 ใส่ลงในแก้วใบที่ 3 ซึ่งมีรูปทรงสูง และขนาดแคบกว่า คุณครูให้เด็กๆสังเกตปริมาตรของน้ำในแก้วทั้งสอง แล้วถามว่าปริมาตรน้ำในแก้วใบที่ 3 แตกต่างจากน้ำในแก้วใบที่ 1 หรือไม่ เด็กๆจะสังเกตจากระดับน้ำตามที่ตาเห็น
กิจกรรมการเรียนการสอนในวันนี้
-อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนนำกล่องมาคนละ 1 กล่อง สอนในเรื่องของการใช้สื่อกล่องในการสอนความรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก
-แบ่งกลุ่ม จำนสน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ใช้กล่องของแต่ละคน มาต่อรวมกันเป็นรูปอะไรก็ได้โดยมีข้อแม้ดังนี้
กลุ่มที่ 1 สามารถพูดคุยปรึกษากันได้
กลุ่มที่ 2 ห้ามพูดคุยกันกลุ่มที่ 3 สามารถพูดได้ทีละคน
วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 3 วันที่16 พฤศจิกายน 2555
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละ 3 คน เพื่อที่จะได้นำงานทีีตัวเองหามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน
คนอื่น จากนั้นให้นักศึกษาสรุปออกมาเป็นกลุ่มของตัวเอง
ซึ่งกลุ่มของดิฉันสรุปได้ดังนี้
ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นความรู้แขนงหนึ่ง ที่มีความสำคัญและมีส่วนเกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆ มากมายในการ
หาข้อสรุปหรือกฎหรือทฤษฎีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางวิทยาศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ และช่วยให้ผู้ศึกษารู้จัก
คิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล เพื่อให้นำไปวิเคราะห์สภาพการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้
จุดประสงค์ในการสอนคณิตศาสตร์
การสอนคณิตศาสตร์ในช่วงเด็กปฐมวัยจะมุ่งเน้นให้เด็กสนใจที่จะเรียนคณิตศาสตร์ พัฒนาความ
คิดรวบยอด ฝึกให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต มีเหตุผลและละเอียดรอบคอบ ให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรง
โดยการปฏิบัติกับอุปกรณ์และเมื่อเด็โตขึ้นฝึกฝนให้มีทักษะกระบวนการทางความคิด เพื่อให้เด็กมีความรู้
ความเข้าใจในการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ
ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
1.ทฤษฎีการใช้ประสาทสัมผัส เน้นเรื่องสติปัญญาโดยให้เด็กมีปฏิสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมและปรับตัวให้
เข้ากับสิ่งแวดล้อม
2.ทฤษฎีแห่งการฝึกฝน เน้นการทำสิ่งนั้นซ้ำๆ ก็จะมีความชำนาญขึ้นเอง
3.ทฤษฎีแห่งความหมาย เน้นให้เห็นโครงสร้างทางคณิตศาสตร์
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
1.การนับ 2.ตัวเลข
3.การจับคู่ 4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ 6.การจัดลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่ 8.การวัด
9.เซต 10.เศษส่วน
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย 12.การปริมาณ
หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.ตั้งคำถามให้ผู้เรียนเกิดความคิดและเกิดการค้นพบหลักเกณฑ์ในการคิดได้ด้วยตนเองโดยการสอน
จากง่ายไปยาก
2.เริ่มจากรูปธรรมไปสู่นามธรรม
3.ให้เด็กได้ค้นคว้าด้วยตัวเองและหัดตัดสินใจ
4.จัดกิจกรรมให้เด็กเกิดความสนุกสนาน
5.จัดกิจกรรมทบทวนโดยตั้งคำถามให้ตอบปากเปล่า
คนอื่น จากนั้นให้นักศึกษาสรุปออกมาเป็นกลุ่มของตัวเอง
ซึ่งกลุ่มของดิฉันสรุปได้ดังนี้
ความหมายของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เป็นความรู้แขนงหนึ่ง ที่มีความสำคัญและมีส่วนเกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆ มากมายในการ
หาข้อสรุปหรือกฎหรือทฤษฎีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางวิทยาศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ และช่วยให้ผู้ศึกษารู้จัก
คิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล เพื่อให้นำไปวิเคราะห์สภาพการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้
จุดประสงค์ในการสอนคณิตศาสตร์
การสอนคณิตศาสตร์ในช่วงเด็กปฐมวัยจะมุ่งเน้นให้เด็กสนใจที่จะเรียนคณิตศาสตร์ พัฒนาความ
คิดรวบยอด ฝึกให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต มีเหตุผลและละเอียดรอบคอบ ให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรง
โดยการปฏิบัติกับอุปกรณ์และเมื่อเด็โตขึ้นฝึกฝนให้มีทักษะกระบวนการทางความคิด เพื่อให้เด็กมีความรู้
ความเข้าใจในการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ
ทฤษฎีการสอนคณิตศาสตร์
1.ทฤษฎีการใช้ประสาทสัมผัส เน้นเรื่องสติปัญญาโดยให้เด็กมีปฏิสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมและปรับตัวให้
เข้ากับสิ่งแวดล้อม
2.ทฤษฎีแห่งการฝึกฝน เน้นการทำสิ่งนั้นซ้ำๆ ก็จะมีความชำนาญขึ้นเอง
3.ทฤษฎีแห่งความหมาย เน้นให้เห็นโครงสร้างทางคณิตศาสตร์
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
1.การนับ 2.ตัวเลข
3.การจับคู่ 4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ 6.การจัดลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่ 8.การวัด
9.เซต 10.เศษส่วน
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย 12.การปริมาณ
หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.ตั้งคำถามให้ผู้เรียนเกิดความคิดและเกิดการค้นพบหลักเกณฑ์ในการคิดได้ด้วยตนเองโดยการสอน
จากง่ายไปยาก
2.เริ่มจากรูปธรรมไปสู่นามธรรม
3.ให้เด็กได้ค้นคว้าด้วยตัวเองและหัดตัดสินใจ
4.จัดกิจกรรมให้เด็กเกิดความสนุกสนาน
5.จัดกิจกรรมทบทวนโดยตั้งคำถามให้ตอบปากเปล่า
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 2 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555
กิจกรรมในห้องเรียน
งานที่ได้รับหมอบหมาย
2. ไปดูความหมายของคณิตศาสตร์ เป็นของใคร ชื่อหนังสือ หน้า สำนักพิมพ์
3. จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการสอนคณิตศาสตร์
4. ทฤษฎีของการสอนคณิตศาสตร์
5. ขอบข่ายของการสอนคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
6. ไปดูว่ามีหลักการสอนคณิตศาสตร์
วันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555
อาจารย์จินตนาสร้างข้อตกลงกับนักศึกษา
1.พูดเรื่องแต่งกาย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา
2.อาจารย์จะปล่อยก่อน
40 นาที คือเวลา 16.50 เพื่อให้ไปทำบล็อก
3.อาจารย์ให้สร้งบล็อกใหม่
โดยใช้บล็อกเดิม
งานในห้องเรียน
ให้เขียนประโยคสองประโยคเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร
ความคาดหวังจากวิชานี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)